1. ข้อสรุปที่ได้จากการอ่านบทความ
การสอนแนะให้รู้คิด
เป็นรูปแบบหนึ่งของการจักการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเชื่อของครูที่เกิดจากการทำความเข้าใจ
การคิดการใช้เหตุผลเชิงคณิตศาสตร์ของนักเรียนแล้วนำมาใช้พิจารณาใช้ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถนำไปประยุกต์ในชีวิตจริงได้
โดยที่ครูผู้สอนจะเป็นเพียงผู้ที่คอยแนะนำ
ซึ่งสอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาระดับชาติที่เน้นทักษะการคิดของผู้เรียนเป็นสำคัญ
การสอนแนะให้รู้คิด (CGI) มีหลักการ ดังนี้
1. การจัดการเรียนการสอนต้องอยู่บนพื้นฐานว่าอะไรที่นักเรียนแต่ละคนควรรู้
2. การจัดการเรียนการสอนควรพิจารณาว่าจะสามารถพัฒนาแนวคิดทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนได้อย่างไร
3. ต้องมีกิจกรรมในใจในการเรียนคณิตศาสตร์
ตอนของการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน CGI
ขั้นที่หนึ่ง ครูนำเสนอปัญหา
ขั้นที่สอง
ครูช่วยแนะให้นักเรียนมีความเข้าใจในปัญหา
และเปิดโอกาสให้นักเรียนแก้ปัญหา
ขั้นที่สาม นักเรียนรายงานคำตอบและวิธีการแก้ปัญหา
หลังจากครูนำเสนอปัญหา และให้เวลานักเรียนแก้ปัญหา
ขั้นที่สี่
ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปราย หลังจากที่นักเรียนรายงานคำตอบ
บทบาทครูผู้สอนและบรรยากาศ
ครูควรชี้แนะในขณะผู้เรียนทำกิจกรรม, ครูควรมีความกระตือรือร้น, ครูควรเตรียมสื่อให้พร้อม, ครูควรให้โอกาสในการทำกิจกรรมของนักเรียน, ควรหาปัญหาที่เหมาะสมกับนักเรียน,
ควรจัดให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง,ควรมีการให้นักเรียนทำงานกลุ่มใช้เวลาที่เหมาะสม, ไม่ควรเตรียมการสอนที่ตายตัวสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามการเวลาที่เหมาะสม
2.ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
ในการเรียนการสอนจะเน้นกิจกรรมที่สงเสริมทักษะการคิดให้กับนักเรียนและสอนให้เด็กรู้จักการทำงานเป็นทีม
โดยนำปัญหาหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงใจชีวิตประจำวันมาให้เด็กๆได้เรียนรู้และรู้จักแก้ปัญหาต่างๆ
ด้วยตัวเอง
และเมื่อนักเรียนแก้ปัญหาได้แล้วก็มาช่วยกันอภิปรายถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและให้เด็กๆลองแก้ปัญหาในทำนองเดียวกันอีกครั้ง
3.ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะออกแบบการเรียนการสอนที่จะนำแนวคิดนี้ไปใช้ได้อย่างไร
1. กำหนดจุดประสงค์ที่จะให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนไว้อย่างชัดเจน
2. นำขั้นตอนทั้ง 4
ขั้นตอนที่สำคัญในกระบวนการจัดการเรียนรู้ของชั้นเรียน CGI ที่
สอดคล้องกันดังนี้
2.1 ครูนำเสนอปัญหา
ควรเลือกปัญหาที่ผู้เรียนเคยพบเจอในชีวิต
2.2 ครูช่วยแนะให้ผู้เรียนมีความเข้าใจปัญหา และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแก้ปัญหา ครูต้องช่วย
แนะนำจนให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสามารถแก้ปัญหานั้นได้และต้องให้เวลาผู้เรียนเพื่อทำความเข้าใจปัญหา ซึ่งครูต้องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับสื่อ เครื่องมือต่าง ๆ หรืออุปกรณ์ที่ผู้เรียนต้องการ
2.3 นักเรียนรายงานคำตอบและวิธีการแก้ปัญหา และเลือกถามเป็นรายบุคคลถึงวิธีการในการ
แก้ปัญหาพร้อมเหตุผล เช่น
คุณหาคำตอบได้อย่างไร
ทำไมใช้วิธีการนั้น เป็นต้น
2.4 ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบและวิธีการที่ใช้ ผู้เรียนทั้งชั้นช่วยกันอภิปรายถึง
คำตอบและวิธีการที่แตกต่างกัน
โดยครูเป็นผู้นำให้เกิดการอภิปรายโดยใช้คำถาม เช่น
คำตอบสองคำตอบนี้เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ใครมีวิธีการที่แตกต่างจากนี้ไม่
เป็นต้น
1. ข้อสรุปที่ได้จากการอ่านบทความ
พระเจ้าอยู่หัวทรงเป็น ครูของแผ่นดิน
ที่มีวิธีการสอนที่ไม่เหมือนใคร
ไม่ใช่ตำราใดๆ
เพราะว่าสอนจริงในห้องเรียนนั้นๆ
อยู่แล้ว
และใช้วิธีการสอนแบบทำให้ดู
เพื่อให้เกิดแรงจูงใจแก่นักเรียน
นักเรียนคนใดสนก็จะเข้าไปดูไปศึกษา
และจะพยายามอธิบายให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ และจะไม่ใช่คำว่า เดี๋ยวค่อยทำ
แต่จะให้ลงมือทำเลย
2.ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
จะใช้วิธีการสอนแบบทำให้นักเรียนดูก่อน และจะเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน เพราะลูกศิษย์จะดีได้ก็ต้องมีต้นแบบที่ดี และต้องเป็นต้นแบบที่คงทนถาวรด้วย
3.ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะออกแบบการเรียนการสอนที่จะนำแนวคิดนี้ไปใช้ได้อย่างไร
ทำให้ศิษย์ดู ให้ศิษย์ทำตาม
ศิษย์เกิดความเข้าใจ และปฏิบัติเองได้
โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานในการดำเนินชีวิต และเป็นคนดีของสังคม
1. ข้อสรุปที่ได้จากการอ่านบทความ
การสอนแนะให้รู้คิด
เป็นรูปแบบหนึ่งของการจักการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเชื่อของครูที่เกิดจากการทำความเข้าใจ
การคิดการใช้เหตุผลเชิงคณิตศาสตร์ของนักเรียนแล้วนำมาใช้พิจารณาใช้ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถนำไปประยุกต์ในชีวิตจริงได้
โดยที่ครูผู้สอนจะเป็นเพียงผู้ที่คอยแนะนำ
ซึ่งสอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาระดับชาติที่เน้นทักษะการคิดของผู้เรียนเป็นสำคัญ
การสอนแนะให้รู้คิด (CGI) มีหลักการ ดังนี้
1. การจัดการเรียนการสอนต้องอยู่บนพื้นฐานว่าอะไรที่นักเรียนแต่ละคนควรรู้
1. การจัดการเรียนการสอนต้องอยู่บนพื้นฐานว่าอะไรที่นักเรียนแต่ละคนควรรู้
2. การจัดการเรียนการสอนควรพิจารณาว่าจะสามารถพัฒนาแนวคิดทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนได้อย่างไร
3. ต้องมีกิจกรรมในใจในการเรียนคณิตศาสตร์
ตอนของการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน CGI
ขั้นที่หนึ่ง ครูนำเสนอปัญหา
ขั้นที่สอง ครูช่วยแนะให้นักเรียนมีความเข้าใจในปัญหา และเปิดโอกาสให้นักเรียนแก้ปัญหา
ขั้นที่สาม นักเรียนรายงานคำตอบและวิธีการแก้ปัญหา หลังจากครูนำเสนอปัญหา และให้เวลานักเรียนแก้ปัญหา
ขั้นที่สี่ ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปราย หลังจากที่นักเรียนรายงานคำตอบ
ขั้นที่หนึ่ง ครูนำเสนอปัญหา
ขั้นที่สอง ครูช่วยแนะให้นักเรียนมีความเข้าใจในปัญหา และเปิดโอกาสให้นักเรียนแก้ปัญหา
ขั้นที่สาม นักเรียนรายงานคำตอบและวิธีการแก้ปัญหา หลังจากครูนำเสนอปัญหา และให้เวลานักเรียนแก้ปัญหา
ขั้นที่สี่ ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปราย หลังจากที่นักเรียนรายงานคำตอบ
บทบาทครูผู้สอนและบรรยากาศ
ครูควรชี้แนะในขณะผู้เรียนทำกิจกรรม, ครูควรมีความกระตือรือร้น, ครูควรเตรียมสื่อให้พร้อม, ครูควรให้โอกาสในการทำกิจกรรมของนักเรียน, ควรหาปัญหาที่เหมาะสมกับนักเรียน,
ควรจัดให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง,ควรมีการให้นักเรียนทำงานกลุ่มใช้เวลาที่เหมาะสม, ไม่ควรเตรียมการสอนที่ตายตัวสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามการเวลาที่เหมาะสม
2.ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
ในการเรียนการสอนจะเน้นกิจกรรมที่สงเสริมทักษะการคิดให้กับนักเรียนและสอนให้เด็กรู้จักการทำงานเป็นทีม
โดยนำปัญหาหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงใจชีวิตประจำวันมาให้เด็กๆได้เรียนรู้และรู้จักแก้ปัญหาต่างๆ
ด้วยตัวเอง
และเมื่อนักเรียนแก้ปัญหาได้แล้วก็มาช่วยกันอภิปรายถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและให้เด็กๆลองแก้ปัญหาในทำนองเดียวกันอีกครั้ง
3.ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะออกแบบการเรียนการสอนที่จะนำแนวคิดนี้ไปใช้ได้อย่างไร
1. กำหนดจุดประสงค์ที่จะให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนไว้อย่างชัดเจน
2. นำขั้นตอนทั้ง 4
ขั้นตอนที่สำคัญในกระบวนการจัดการเรียนรู้ของชั้นเรียน CGI ที่
สอดคล้องกันดังนี้
2.1 ครูนำเสนอปัญหา
ควรเลือกปัญหาที่ผู้เรียนเคยพบเจอในชีวิต
2.2 ครูช่วยแนะให้ผู้เรียนมีความเข้าใจปัญหา และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแก้ปัญหา ครูต้องช่วย
แนะนำจนให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสามารถแก้ปัญหานั้นได้และต้องให้เวลาผู้เรียนเพื่อทำความเข้าใจปัญหา ซึ่งครูต้องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับสื่อ เครื่องมือต่าง ๆ หรืออุปกรณ์ที่ผู้เรียนต้องการ
2.3 นักเรียนรายงานคำตอบและวิธีการแก้ปัญหา และเลือกถามเป็นรายบุคคลถึงวิธีการในการ
แก้ปัญหาพร้อมเหตุผล เช่น
คุณหาคำตอบได้อย่างไร
ทำไมใช้วิธีการนั้น เป็นต้น
2.4 ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบและวิธีการที่ใช้ ผู้เรียนทั้งชั้นช่วยกันอภิปรายถึง
คำตอบและวิธีการที่แตกต่างกัน
โดยครูเป็นผู้นำให้เกิดการอภิปรายโดยใช้คำถาม เช่น
คำตอบสองคำตอบนี้เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ใครมีวิธีการที่แตกต่างจากนี้ไม่
เป็นต้น
1. ข้อสรุปที่ได้จากการอ่านบทความ
พระเจ้าอยู่หัวทรงเป็น ครูของแผ่นดิน
ที่มีวิธีการสอนที่ไม่เหมือนใคร
ไม่ใช่ตำราใดๆ
เพราะว่าสอนจริงในห้องเรียนนั้นๆ
อยู่แล้ว
และใช้วิธีการสอนแบบทำให้ดู
เพื่อให้เกิดแรงจูงใจแก่นักเรียน
นักเรียนคนใดสนก็จะเข้าไปดูไปศึกษา
และจะพยายามอธิบายให้นักเรียนเกิดความเข้าใจ และจะไม่ใช่คำว่า เดี๋ยวค่อยทำ
แต่จะให้ลงมือทำเลย
2.ถ้าท่านเป็นครูผู้สอนท่านจะนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์กับการเรียนการสอนได้อย่างไร
จะใช้วิธีการสอนแบบทำให้นักเรียนดูก่อน และจะเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน เพราะลูกศิษย์จะดีได้ก็ต้องมีต้นแบบที่ดี และต้องเป็นต้นแบบที่คงทนถาวรด้วย
3.ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะออกแบบการเรียนการสอนที่จะนำแนวคิดนี้ไปใช้ได้อย่างไร
ทำให้ศิษย์ดู ให้ศิษย์ทำตาม
ศิษย์เกิดความเข้าใจ และปฏิบัติเองได้
โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานในการดำเนินชีวิต และเป็นคนดีของสังคม