ทฤษฏีการบริหารการศึกษา
มาสโลว์
มาสโลว์มองว่าความต้องการของมนุษย์มีลักษณะเป็นลำดับขั้น จากระดับต่ำ
สุดไปยังระดับสูงสุด เมื่อความต้องการในระดับหนึ่งได้รับการตอบสนองแล้ว
มนุษย์ก็จะมีความต้องการอื่นในระดับที่สูงขึ้นต่อไป
แมกเกรเกอร์ เป็นเจ้าของทฤษฏีการมองต่างมุม โดยแบ่งเป็นสุดไปยังระดับสูงสุด เมื่อความต้องการในระดับหนึ่งได้รับการตอบสนองแล้ว
มนุษย์ก็จะมีความต้องการอื่นในระดับที่สูงขึ้นต่อไป
ทฤษฏี X โดยมองว่าพนักงานเกียจคร้าน ไม่กระตือรือร้น
ทฤษฏี Y โดยมองว่าพนักงานมีความรับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหา
วิลเลี่ยม โอชิ เป็นเจ้าของทฤษฏี Z โดยนำข้อดีและข้อเสียของทฤษฏี A และทฤษฏี J มาวิเคราะห์แล้วนำมาผสมผสานกัน แนวความคิดก็คือ องค์การต้องมีหลักเกณฑ์ที่ควบคุมมนุษย์
แต่มนุษย์ก็รักความเป็นอิสระและมีความต้องการ
หน้าที่ของผู้บริหารจึงต้องปรับเป้าหมายขององค์การให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบุคคลในองค์การ ทฤษฎีมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ประการ คือ
1. การทำให้ปรัชญาที่กำหนดไว้บรรลุ
2. การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
3. การให้ความไว้วางใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
4. การให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ทฤษฎีนี้ใช้หลักการ 3 ประการ คือ
1. คนในองค์การต้องซื่อสัตย์ต่อกัน
2. คนในองค์การต้องมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
3. คนในองค์การต้องมีความใกล้ชิดเป็นกันเอง
อังริ ฟาโยล ได้เสนอหลักการจัดการ 14 ประการ
1. การทำให้ปรัชญาที่กำหนดไว้บรรลุ
2. การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
3. การให้ความไว้วางใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
4. การให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ทฤษฎีนี้ใช้หลักการ 3 ประการ คือ
1. คนในองค์การต้องซื่อสัตย์ต่อกัน
2. คนในองค์การต้องมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
3. คนในองค์การต้องมีความใกล้ชิดเป็นกันเอง
อังริ ฟาโยล ได้เสนอหลักการจัดการ 14 ประการ
เขาเชื่อว่าการบริหารนั้นเป็นเรื่องของทักษะ
และเขาสนใจที่จะศึกษาองค์การโดยรวมและมุ่งเน้นที่กิจกรรมการจัดการ
แมกซ์ เวเบอร์ เห็นว่าเป็นลักษณะองค์การที่เป็นอุดมคติที่องค์การทั้งหลายควรจะเป็น หากได้รับการพัฒนาในระดับที่เหมาะสม มี 6 ประการ คือ
แมกซ์ เวเบอร์ เห็นว่าเป็นลักษณะองค์การที่เป็นอุดมคติที่องค์การทั้งหลายควรจะเป็น หากได้รับการพัฒนาในระดับที่เหมาะสม มี 6 ประการ คือ
1. องค์กรต้องแบ่งงานออกเป็นส่วนๆ
2. ต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับขั้น
3. ระบบคัดเลือกคนต้องทำอย่างเป็นทางการ
4. องค์กรต้องมีระเบียบ และมีกฎเกณฑ์
5. ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง
6. แยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพ
Luther Gulick
Luther Gulick เป็นผู้คิดรูปแบบการบริหารจัดการโดยมีกิจกรรม 7
ประการมาใช้ในการบริหารจัดการ ในวงการบริหารจะรู้จักกิจกรรมทั้ง 7
ประการนี้เป็นอย่างดี มีคำย่อว่า POSDCORB คือ
ประการมาใช้ในการบริหารจัดการ ในวงการบริหารจะรู้จักกิจกรรมทั้ง 7
ประการนี้เป็นอย่างดี มีคำย่อว่า POSDCORB คือ
P – Planning หมายถึง
การวางแผน
O – Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
S – Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน
D – Directing หมายถึง การสั่งการ
Co – Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ
R – Reporting หมายถึง การรายงาน
B – Budgeting หมายถึง งบประมาณ
Frederick Herzberg O – Organizing หมายถึง การจัดองค์การ
S – Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน
D – Directing หมายถึง การสั่งการ
Co – Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ
R – Reporting หมายถึง การรายงาน
B – Budgeting หมายถึง งบประมาณ
เฮิร์ซเบอร์กได้ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับแรงจูงใจของคน
เขาประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายนอกนั้นจะเป็นแรงจูงใจที่สนองตอบต่อความต้องการภายนอกของคน
ส่วนปัจจัยภายในจะเป็นแรงจูงใจที่สำคัญต่อคนมากกว่าปัจจัยภายนอก
1. ศึกษางานแต่ละส่วนด้วยระบบวิทยาศาสตร์และพัฒนาวิธีการที่ดีที่สุดสำหรับงาน
2. ใช้หลักวิทยาศาสตร์ในการคัดเลือกและอบรมพนักงาน
3. ผสานงานกันอย่างใกล้ชิด
4. แบ่งงานเป็นส่วนๆ
Henry L. Gantt เป็นผู้พัฒนาการอธิบายแผนที่มีความซับซ้อนโดยการใช้กราฟ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ง่ายขึ้น
Frank B. & Lillian M. Gilbreths เป็นแนวคิดที่เป็นการกำจัดความสิ้นเปลือง โดยการลดระยะเวลาในการทำงาน เพื่อให้ได้งานเท่าเดิม ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในปัจจุบัน
บทที่ 1
มโนทัศน์เกี่ยวกับการบริหารการศึกษา
ความเป็นมาและพัฒนาการบริหาร
การบริหาร
เริ่มใช้เมื่ออาณาจักรโรมันล่มสลายโดยกลุ่มนักรัฐศาสตร์ซึ่งเรียกตัวเองว่า “Cameralists”ให้คำจำกัดความ การบริหาร
หมายถึง
การจัดการหรือควบคุมกิจการต่างๆ
ของรัฐ ต่อมาพวกอเมริกันที่เรียกว่า Federalist ให้ความหมาย การบริหารว่า
เป็นการบริหารของรัฐ หรือการบริหารตามแนวรัฐศาสตร์
ความสำคัญของการบริหาร เป็นการดำรงอยู่รวมกันของมนุษย์
เป็นผลทำให้การบริหารของหน่วยงานต่างๆได้ขยายงานอย่างกว้างขวางคำว่าการบริหารการศึกษา หมายถึง
กิจกรรมต่างๆ
ที่บุคคลหลายคนร่วมกันดำเนินการ
เพื่อพัฒนาสังคมในทุกๆด้าน
สำหรับปรัชญาของการศึกษามีอยู่
13 ประการ
คือ
1.ผู้บริหารต้องใช้ความฉลาดไหวพริบมาใช้แก้ปัญหา 2. ผู้บริหารต้องเปิดให้คนเข้าร่วมในการทำงาน
3.ผู้บริหารต้องเคารพความเป็นคนของแต่ละคน 4.ผู้บริหารต้องยึดเป้าหมายของการศึกษาเป็น
5.ผู้บริหารต้องถือว่าตนเป็นผู้ประสานประโยชน์ 6.ผู้บริหารต้องเปิดโอกาสให้คนเข้าพบทำความเข้าใจ
7.ผู้บริหารต้องถือว่าตนเป็นผู้นำ 8.ผู้บริหารต้องถือว่าตนเองคือนักศึกษาผู้ยึดมั่น
9. ผู้บริหารต้องเสียสละทุกอย่าง 10.
ผู้บริหารจะต้องประสานงาน
11.ผู้บริหารจะต้องบริหารงานอยู่เสมอ 12.ผู้บริหารต้องเคารพในวิชาชีพของการบริหาร
13.ผู้บริหารต้องขวนขวายหาความรู้ใส่ตนอยู่เสมอ
และแสวงหาความชำนาญ
บทที่ 2
วิวัฒนาการของการบริหารยุคต่างๆและการประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษา
2.1
วิวัฒนาการด้านรัฐกิจ การบริหารงานของรัฐหมายถึง
การบริหารหรือจัดการหรือดำเนินการในด้านรายละเอียดอย่างมีแบบแผน
ซึ่งเกี่ยวพันกับกฎหมายต่างๆของรัฐการใช้กฎหมายคือการบริหาร2.2 วิวัฒนาการด้านธุรกิจ การจัดการ เป็นสาขาที่สำคัญ นอกจากการใช้ “ระเบียบวินัยในการทำงาน” การบริหารด้านธุรกิจมีการวางกฎเกณฑ์
2.3 การแบ่งยุคของยุคของนักทฤษฎีการบริหาร
2.3.1 ยุคที่1 นักทฤษฎีการบริหารสมัยเดิม
2.3.2 การประยุกต์ใช้หลักการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ในการบริหารการศึกษา
2.3.3 ยุคที่2 ยุค Human Relation Era ทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์
2.3.4 การประยุต์ใช้หลักมนุษย์สัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
2.3.5 ยุคที่3 ยุคการใช้ทฤษฎีทางการบริการ
2.3.6 การประยุกต์ใช้พฤติกรรมศาสตร์ในการบริหารการศึกษา
2.3.7 ทฤษฎีองค์การเชิงระบบ
2.3.8 การประยุกต์เชิงระบบในการบริหารการศึกษา
2.3.3 ยุคที่2 ยุค Human Relation Era ทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์
2.3.4 การประยุต์ใช้หลักมนุษย์สัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
2.3.5 ยุคที่3 ยุคการใช้ทฤษฎีทางการบริการ
2.3.6 การประยุกต์ใช้พฤติกรรมศาสตร์ในการบริหารการศึกษา
2.3.7 ทฤษฎีองค์การเชิงระบบ
2.3.8 การประยุกต์เชิงระบบในการบริหารการศึกษา
บทที่ 3
งานบริหารการศึกษา
การที่มีใครสักคนเข้ามาบริหารงานการศึกษาและสามารถเข้ากับประชาชน ครูและนักเรียนได้แต่การศึกษายังถูกเข้าใจว่า เป็นงานธรรมดาที่ใครก็สามารถทำได้และการบริหารการศึกษาจะไม่แตกกับการบริหารงานทั่วไป ในวงการเดียวกัน อาจารย์ใหญ่จะรับผิดชอบต่อผู้บริหารที่สูงขึ้นไป
คุณลักษณะและผลเสียของการบริหารดังกล่าวสามารถมองเห็นได้ง่าย
เพราะจะมีลักษณะเผด็จการโดยการสั่งการสั่งจากเบื้องบน มีคำสั่งให้ครูปฏิบัติและมีข้อห้ามในการกระทำ
และมีการควบคุมอย่างเข้มงวดและมีการลงโทษหากผู้ใดฝ่าฝืนและลงโทษตามกฎหมายกำหนดและมีเครือข่ายทางการศึกษาดังนี้
1.การผลิต
หมายถึง กิจกรรมพิเศษหรืองานที่ทางองค์การได้จัดตั้งขึ้น ในทางการศึกษา
2.การประกันถึงการใช้ผลผลิตจากประชาชน หมายถึง
กิจกรรมและผลผลิตของการดำเนินงาน
3.การเงินและการบัญชี
หมายถึง
การรับและการจ่ายเงินในการลงทุนในกิจกรรมขององค์การ
4.บุคลากร
คือ
การกำหนดรอบและการดำเนินการของนโยบาย
5.การประสานงาน
คือ เป็นกิจกรรมที่สำคัญของการบริหารการศึกษา
บทที่ 4
กระบวนการทางการบริหารการศึกษา
การบริหารการศึกษาเป็นหน้าที่หนึ่งของรัฐบาลในการบริหารประเทศ เป็นการบริหารธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน
ที่เรียกว่าการบริหารการศึกษาสิ่งที่ทำให้การบริหารการศึกษา การบริหารราชการ และการบริหารธุรกิจจะแตกต่างกัน และปรัชญาการศึกษา
ในการบริหารการศึกษาผู้บริหารนั้นจะต้องรู้เกี่ยวกับหลักการบริหาร
ที่สามารถนำไปเป็นหลักการจัดการศึกษาในโรงเรียนมี 2 เรื่อง
คือ 1.การจัดระบบสังคม,2.เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
สำหรับหลักการจัดระบบการศึกษา ไม่ว่าระดับชาติ ระดับท้องถิ่น
ระดับโรงเรียน คือ จะต้องรู้จักเด็กทุกคน โดยยึดหลักความเสมอภาคและเหมาะสมกับปรัชญา
สภาพแวดล้อมของโรงเรียน และมีการส่งเสริมกิจกรรมให้สอดคล้องกับการปกครองในการบริหารงานในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียมกันโดยกระบวนการบริหารการศึกษา
เป็นความคิดรวบยอดและเป็นการจัดระบบการศึกษา ให้เป็นไปตามกระบวนการศึกษาของโรงเรียน
บทที่ 5
องค์การและการจัดองค์การ
5.1 ความหมายขององค์การ
เราสามารถจำแนกองค์การที่อยู่รอบตัวเราออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ๆคือ
1.องค์การทางสังคม 2.องค์การทางราชการ 3.องค์การเอกชน
5.2 แนวคิดในการจัดองค์การ
1. แนวคิดในการจัดองค์การมาจากพื้นฐานการดำเนินงานขององค์การที่ภารกิจมาก
2. แนวคิดในการจัดองค์การยังต้องคำนึงถึง “ผู้ปฏิบัติงาน”
3. แนวในการจัดการองค์การ จะต้องกล่าวผู้บริหารควบคู่กันไป
3. แนวในการจัดการองค์การ จะต้องกล่าวผู้บริหารควบคู่กันไป
5.3 ความสำคัญของการจัดองค์การ องค์การเป็นที่รวมของคนและเป็นที่รวมของงานต่างๆ เพื่อให้พนักงานขององค์การ ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และเต็มความสามารถ
5.4 หลักการในการจัดองค์การ
1. หลักวัตถุประสงค์ 2. หลักความรู้ความสามารถเฉพาะอย่าง
3. หลักการประสานงาน 4. หลักการบังคบบัญชา
5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความสมดุล
7. หลักความต่อเนื่อง 8. หลักการโต้ตอบและการติดตาม
9. หลักขอบเขตของการควบคุม 10. หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา
11. หลักตามลำดับขั้น 12. หลักการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง
5.5 องค์ประกอบในการจัดองค์การ
1.
หน้าที่การงานเป็นภารกิจ 2. การแบ่งงานกันทำ3. หลักการประสานงาน 4. หลักการบังคบบัญชา
5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความสมดุล
7. หลักความต่อเนื่อง 8. หลักการโต้ตอบและการติดตาม
9. หลักขอบเขตของการควบคุม 10. หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา
11. หลักตามลำดับขั้น 12. หลักการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง
5.5 องค์ประกอบในการจัดองค์การ
3. การรวมและการกระจายอำนาจในการจัดการองค์การ
5.6 ประเภทขององค์การรูปนัย แบ่งออก
4 ประเภท
1. สมาคมเพื่อประโยชน์ของสมาชิก 2. องค์การทางธุรกิจ
3. องค์การเพื่อบริการ 4. องค์การเพื่อสาธารณชน
5.7 ทฤษฎีองค์การ คือ ความรู้ที่ได้จากทฤษฎีขององค์การอันด้มาจากสังคมวิทยา รัฐศาสตร์ และบางส่วนของจิตวิทยาสังคมกับเศรษฐศาสตร์
5.8 ระบบราชการและองค์การทางการศึกษา3. องค์การเพื่อบริการ 4. องค์การเพื่อสาธารณชน
5.7 ทฤษฎีองค์การ คือ ความรู้ที่ได้จากทฤษฎีขององค์การอันด้มาจากสังคมวิทยา รัฐศาสตร์ และบางส่วนของจิตวิทยาสังคมกับเศรษฐศาสตร์
ระบบราชการ หมายถึง
ระบบการบริหารที่มีลักษณรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลางอย่างมาก มีความอิสระในการปฎิบัติงานและเป็นกึ่งทหาร
บทที่ 6
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารเป็นองค์ประกอบหนึ่งในกระบวนการบริหารที่ดี
มีความหมายว่ากระบวนการติดต่อเกี่ยวข้องและประสานงานกันระหว่างบุคคล
โดยอาศัยวิธีการถ่ายทอด และการรับข้อมูลเพื่อเป้าหมายที่ตั้งไว้ ปัจจัยในการติดต่อสื่อสารมี
3 ตัว คือ สื่อ
ช่องทางที่สื่อผ่านและกระบวนการ รูปแบบของการติดต่อสื่อสาร การจัดเตรียม การสังเกตการณ์ของกระบวนการ
การจำแนกปัจจัยผันแปร
บทที่ 7
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ หมายถึงการเป็นผู้นำที่ใช้อิทธิพลในการดำเนินงาน ในความสัมพันธ์ต่อผู้ใต้บังคับบัญชาในสถานการณ์ต่างๆเพื่อปฏิบัติการและอำนวยการ
โดยใช้กระบวนการติดต่อชึ่งกันและกัน หน้าที่ผู้นำเกี่ยวข้องกับ การอำนวย การจูงใจ
การริเริ่ม กำหนดนโยบาย วินิจฉัยสั่งการ องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำ
มีผู้นำ ผู้ตาม สถานการณ์ ผู้นำกับผู้บริหารจะแตกต่างกันคือผู้นำก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
ส่วนผู้บริหารเป็นผู้รักษาความมั่นคงในหน่วยงาน
บทที่ 8
การประสานงาน
การประสานงาน คือการจัดระเบียบวิธีการทำงาน
เพื่อให้งานและเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่งๆร่มมือปฎิบัติงานเป็นน้ำหนึ่งเดี่ยวกัน เพื่อให้งานดำเนินไปอย่างราบรื่นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และนโยบาย
ความมุ่งหมายในการประสานช่วยให้คุณภาพและผลงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์
เพื่อจัดความซ้ำซ้อนกันของการทำงานโดยไม่จำเป็น
และเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งกันระหว่างเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงาน
ภารกิจในการประสานงานที่ดี ควรทราบถึงภารกิจที่ดีในการประสานงานคือต้องทราบนโยบาย
แผนงาน งานที่รับผิดชอบ และทรัพยากร
ส่วนหลักการประสานงานควรจัดให้มีระบบในการสื่อสาร ความร่วมมือ
การประสานงานและนโยบายที่ดี และในการประสานให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
บทที่ 9
การตัดสินใจสั่งการหรือการวินิจฉัยสั่งการ
การตัดสินใจคือการชั่งใจไตร่ตรองหาเหตุผลเพื่อให้การดำเนงานไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้
ส่วนการวินิจฉัยสั่งการคือการสั่งงานหรือการพิจารณาตกลงชี้ขาดจากทางเลือกที่มีอยู่มากกว่าหนึ่งทางขึ้นไป
หลักการในการตัดสินใจหรือวินิจฉัยสั่งการ บางครั้งตัดสินใจถูกแต่การสั่งงานผิดพลาดอาจทำให้เกิดผลเสียหายแก่งาน ลักษณะการวินิจฉัยสั่งการของผู้บริหารที่ดี
จะต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ดังนี้ ระยะเวลาที่เหมาะสม ความแน่นอน
ความรู้ความสามารถของผู้บริหาร ประสบการณ์ในการทำงาน ทัศนคติ บุคลิกภาพที่มีอิทธิพล
ความลำเอียงส่วนบุคคล ความโดดเดี่ยว ประสบการณ์ การรู้โดยความรู้สึก
และการแสวงหาคำแนะนำ
บทที่ 10
ภารกิจของผู้บริหารโรงเรียน
ผู้บริหารโรงเรียน ถือว่าเป็นบุคคลสำคัญที่ได้รับการแต่งตั้งหรือมอบหมายงานให้มีอำนาจหน้าที่ในการจัดการศึกษาหรืออำนวยการต่างๆ จะมีหลายด้าน ดังนี้ 1.การบริหารงานวิชาการ จะเป็นหัวใจของการบริหารในโรงเรียน 2.การบริหารบุคคล คือการจัดงานเกี่ยวกับคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความสำคัญของการบริหารบุคคล
คือ คนเป็นผู้บันดาลให้ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดขึ้น วัตถุประสงค์
เพื่อสรรหาและเลือกสรรคนดี
มีความรู้ความสามารถมาทำงานให้เกิดผลสูงสุดอยู่กับองศ์การ 3.การบริการธุรการในโรงเรียน คืองานธุรการเป็นเรื่องของการให้บริการแก่หน่วยงานต่างๆของโรงเรียนหรอสถาบันการศึกษา
4.การบริหารงานนักเรียน เป็นการบริการงานเกี่ยวกับนักเรียนในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในห้องเรียน 5.การบริหารอาคารสถานที่และบริการด้านอื่นๆ
คือการรู้จักจัดหา รู้จักใช้อาคารให้เกิดประโยชน์สูงสุดและให้คงสภาพดีสนองความต้องการได้อย่างเพียงพอ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น